ความเห็น: 0
Method validation และ Method verification part.2
จากที่ได้เกริ่นไปก่อนหน้านี้ค่ะ วันนี้ได้ฤกษ์ดีให้กำเนิด รายละเอียดขั้นตอนการทำ method validation ทั้ง 8 หัวข้อ ซึ่งสไลด์นี้ เป็นสไลด์ส่วนหนึ่งที่ลูกไก่ได้ทำขึ้นเพื่อถ่ายทอดความรู้ให้แก่น้องๆนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ค่ะ เลยเอามาฝากชาว Share PSU เผื่อจะมีใครได้นำไปใช้ประโยชน์ได้บ้าง.....อิอิ
ไม่แน่ใจว่าพอจะจำได้กันหรือเปล่าว่า 8 รายการ สำหรับทำ method validation มีหัวข้ออะไรบ้าง เอาเป็นว่าทบทวนให้ละกันนะค่ะ
- ช่วงความเข้มข้นที่ตรวจวัดได้ (linearity หรือ range)
- ความถูกต้อง (Accuracy)
- การทําซ้ำอย่างแม่นยํา (Precision)
- ความเข้มข้นต่ำสุดที่ตรวจวัดได้ (LOD, limit of detection)
- ความเข้มข้นต่ำสุดที่ตรวจวัดเชิงปริมาณได้ (LOQ, limit of quantitation)
- ความไววิเคราะห์ (Sensitivity, S)
- ความจําเพาะเจาะจง (Selectivity หรือ Specificity )
- ความคงทน ( Ruggedness)
แต่สำหรับหัวข้อที่ 6-8 หากเราได้เลือกวิธีมาตรฐานสากลมาใช้ เช่น ASTM, AOAC, ISO หรือ BS EN ก็ไม่ต้องทำแล้วนะค่ะ
ที่นักวิทยาศาสตร์เราจะต้องทำส่วนใหญ่คือหัวข้อ 1-5 ค่ะ แต่ก็ยังมีข้อแม้อีกว่า เราทดสอบอะไร ด้วยเครื่อง/เทคนิคการทดสอบอะไร เพราะเราไม่จำเป็นจะต้องทำทั้ง 5 หัวข้อ เหมือนง่ายมั้ยละค่ะ เอาเป็นว่าแต่ละหัวข้อทำอย่างไร ทำกี่ซ้ำ พิสูจน์อย่างไร และประเมินอย่างไร ดังนี้เลยค่ะ
ช่วงความเข้มข้นที่ตรวจวัดได้ (linearity หรือ range)
การทําซ้ำอย่างแม่นยํา (Precision)
ความถูกต้อง (Accuracy)
ความเข้มข้นต่ำสุดที่ตรวจวัดได้ (LOD, limit of detection)
ความเข้มข้นต่ำสุดที่ตรวจวัดเชิงปริมาณได้ (LOQ, limit of quantitation)
บันทึกอื่นๆ
- เก่ากว่า « Method validation และ Method ver...
ร่วมแสดงความเห็นในหน้านี้